สวัสดีค่ะ ผู้เยี่ยมชมทุกท่าน
วันนี้เราจะมารีวิวคอมเก่าฝุ่นเกาะที่ไม่ใช้งานมานาน ซึ่งคอมพวกนี้จะเก็บอยู่ในห้องที่พวกเราเรียกมันว่า "ห้องสุสานคอม" ตั้งอยู่ที่ อาคาร9 ห้อง 9310 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ก่อนจะมาเปิดดูภายในของเครื่องคอมนั้น เรามาดูผู้ร่วมสำรวจกันว่ามีใครบ้าง
1. นายกฤตพจน์ พลยศ
2. นางสาวนิภาพร ทองคำสุข
3. นางสาวจุฑาลักษณ์ ใจชื่น
จากนั้นเรามาเริ่มแกะดูด้านในกันเลย !
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
เริ่มจากการหมุนๆๆๆน็อตจากฝาด้านข้าง ออกทีละตัว
ด้านในเป็นแบบนี้ ก็ดูสะอาดดี ปัดฝุ่นเล็กน้อยน่าจะดี
อุปกรณ์ชิ้นที่ 1 คือ หน่วยความจำหลัก หรือ "แรม" (RAM : Random Access Memory)
อุปกรณ์ชิ้นที่ 2 คือ หน่วยประมวลผลกลาง หรือ "ซีพียู" (CPU : Central Processing Unit)
ซิงค์และพัดลมระบายความร้อนจาก CPU
คุณสมบัติของอุปกรณ์
|
|
ความเร็ว CPU :
|
1 GHz.
|
ความเร็ว บัส :
|
133 MHz.
|
ความจุของหน่วยความจำ แคช :
|
256 KB.
|
อัตราความต่างศักย์ไฟฟ้า:
|
1.750.
|
ความร้อน :
|
75 ํC.
|
การคลายความร้อนสูงสุด :
|
29.0W.
|
ผู้ผลิต :
|
Intel
|
รุ่น :
|
Pentium III
|
อุปกรณ์ชิ้นที่ 3 คือ แผงวงจร หรือ "เมนด์บอร์ด" (Mainboard)
อุปกรณ์ชิ้นที่ 4 คือ แหล่งจ่ายพลังงาน หรือ Power Supply
คุณสมบัติของอุปกรณ์
|
|
รุ่น :
|
TK-930TX
|
ปัจจัยนำเข้า
|
|
ความต่างศักย์ไฟฟ้า :
|
100-130/200-240v
|
ความถี่ไฟฟ้า :
|
50/60
Hz
|
ปัจจัยนำออก
|
|
พลังงานไฟฟ้า :
|
300 W
|
อุปกรณ์ชิ้นที่ 5 คือ หน่วยความจำสำรอง หรือ HDD : Hard Disk Drive
Western Digital WD400BB-00FJA0 WD400 Caviar 40GB 3.5" ATA/100 Hard Disk Drive
คุณสมบัติของอุปกรณ์
|
|
ประเภท :
|
Ultra ATA / 100-40 ขา
|
ฟอร์มแฟกเตอร์ :
|
3.5
"รุ่นตั้งโต๊ะ
|
ขนาดแคช :
|
2
MB
|
ความเร็วในการหมุน :
|
7200
RPM
|
อุปกรณ์ชิ้นที่ 6 คือ เครื่องอ่าน/เขียนแผ่น ซีดี/ดีวีดี หรือ CD/DVD RW Disk Drive
CD/DVD RW Disk Drive จากผู้ผลิต Asus
อุปกรณ์ชิ้นที่ 7 คือ เครื่องอ่าน/เขียนแผ่น Floppy Disk หรือ Floppy Disk Drive
Floppy Disk Drive จากผู้ผลิต SAMSUNG
อุปกรณ์ชิ้นที่ 8 คือ การ์ดแลนด์
อุปกรณ์ชิ้นที่ 9 คือ สายเชื่อมต่อชนิด IDE หรือ สายแพร
นี่คืออุปกรณ์ทั้งหมดที่ถอดออกมากองๆรวมกัน
ปัดๆฝุ่นสักนิดหน่อย คือบังเอิญเกิดความโชคร้ายตอนที่จะเอาอุปกรณ์กลุ่มเราไปเป่าฝุ่น เครื่องเป่าฝุ่นดัน "พัง" อ้าว ! มาพังตอนกลุ่มเรากำลังจะไปเป่าซะงั้น เลยได้เช็ดๆ ปัดๆเท่าที่ทำได้
ก่อนที่เราจะใส่อุปกรณ์กลับที่เดิม เราจะทำความสะอาดซิลิโคนเก่าที่ติดกับซิงค์และหลัง CPU ออกให้สะอาดก่อน
ขูดๆๆๆๆ ^^
หลังจากทำความสะอาดแล้วบีบซิลิโคนใหม่ แปะๆใส่หลัง CPU เพื่อช่วยระบายความร้อน CPU ได้ดีขึ้น
จากนั้นเราจะมาเริ่มประกอบกลับ ใส่เข้าไปทีละอย่าง
หมุนๆๆๆๆๆ ^^
ภาพเซลฟี่ระหว่างทำงาน ^^
วิดีโอระหว่างการทำงาน
หวังว่าผู้เยี่ยมชมจะมีความสุขกับการรีวิวในบล็อกของเรานะคะ ^^
พบกันใหม่ในบล็อกหน้า
Bye....